Search Tools
Search ...
ภาษาไทย
English
บริษัท แพ็คกิ้ง แอ็ก จำกัด
0-2308-2102
Factory 0-2324-0515-6
Contact
Youtube
LINE
Facebook
Instagram
Toggle
Home
About Packing Ag
About Us
Company Profile
Vision & Mission
Organization Management
Certificate
Awards Achievements
Subsidiaries
Ag-gro (Thailand) Co., Ltd.
Saima Chemical Co., Ltd.
Packing Ag Co,. Ltd.
Products
Acaricides
Insecticides
Fungicides
Herbicides
Growth Regulator
Liquid Fertilizers And Nutrient
Sticker Spreader
Services
Percentage analysis of agricultural chemicals
News
Activities
PR News
Pest problems
Academic Articles
CSR/Environment
VDO Featured Products
Business Opportunity
Apply As A Dealer
Careers
Job Vacancy
Contacts
Satisfaction Assessment Form
Complaint
ไฮเจ็ท
คอปเปอร์ไฮดรอกไซด์
Back to: สารป้องกันกำจัดโรคพืช
พีเทน 80
Description
ชื่อสามัญ :
แมนโคเซบ (mancozeb) 80% WP
ลักษณะสาร :
ผงละเอียดสีเหลือง/ผงละเอียดสีเขียว
ขนาดบรรจุ :
18x1000 กรัม / 4x5 กิโลกรัม / 1x25 กิโลกรัม
อัตราใช้ :
50-80 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
คุณสมบัติ :
เป็นสารกลุ่ม dithiocarbamates มีคุณสมบัติเป็นสารสัมผัส ยับยั้งการสร้างสปอร์ การงอกสปอร์และการพัฒนาเส้นใยของเชื้อรา มีฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อโรคกว้างขวาง มีสังกะสีและแมงกานีส เป็นองค์ประกอบ กลไกออกฤทธิ์ มีหลายกลไก 1) dialkyl dithiocarbamates คือ เป็นคีเลตของโลหะหนักที่เข้ารวมตัวกับโปรตีนและเอนไซม์ ทำให้โปรตีนและเอนไซม์ผิดปกติ และเป็นสารอนุมูลอิสระแย่งจับสารประกอบอินทรีย์ในเซลล์ ทำให้เซลล์เชื้อโรคผิดปกติ 2) monoalkyl dithiocarbamates โดยปลดปล่อยสารพิษ Isothiocyanates เข้าร่วมกับ Sulphydryl group บริเวณผนังของเส้นใย ทำให้เส้นใยชะงักการขยายตัว
ประโยชน์ :
ใช้ป้องกันกำจัดโรคพืช เช่น โรคใบจุด โรคใบจุดสีม่วงในหอม โรคใบจุดตากบ โรคใบจุดตาเสือ โรคใบจุดตานก โรคใบจุดดำกุหลาบ โรคสแคป โรคเมลาโนส โรคแอนแทรคโนส โรคหอมเลื้อย โรคกุ้งแห้ง โรคใบไหม้ โรคราสนิม โรคราแป้ง โรคราดำ โรคราเขม่า เป็นต้น
หมายเหตุ :
สินค้าจากประเทศอินเดีย
ผงละเอียดละลายน้ำดี ไม่อุดตันเครื่องพ่นสารและมีคุณสมบัติเคลือบผิวพืชใบพืชได้ดี ทนทานต่อการชะล้างของน้ำฝนและสปริงเกอร์, เหมาะสำหรับใช้ในการป้องกันโรคพืชก่อนพบการระบาดของโรค และใช้ร่วมกับสารป้องกันกำจัดโรคพืชที่มีคุณสมบัติดูดซึม จะช่วยลดปัญหาการดื้อยาของเชื้อสาเหตุโรคพืช
Number of visitors :
753708
Views
Sitemap
Back To Top