Search Tools
Search ...
ภาษาไทย
English
บริษัท แพ็คกิ้ง แอ็ก จำกัด
0-2308-2102
Factory 0-2324-0515-6
Contact
Youtube
LINE
Facebook
Instagram
Toggle
Home
About Packing Ag
About Us
Company Profile
Vision & Mission
Organization Management
Certificate
Awards Achievements
Subsidiaries
Ag-gro (Thailand) Co., Ltd.
Saima Chemical Co., Ltd.
Packing Ag Co,. Ltd.
Products
Acaricides
Insecticides
Fungicides
Herbicides
Growth Regulator
Liquid Fertilizers And Nutrient
Sticker Spreader
Services
Percentage analysis of agricultural chemicals
News
Activities
PR News
Pest problems
Academic Articles
CSR/Environment
VDO Featured Products
Business Opportunity
Apply As A Dealer
Careers
Job Vacancy
Contacts
Satisfaction Assessment Form
Complaint
ไฮเจ็ท
คอปเปอร์ไฮดรอกไซด์
Back to: สารป้องกันกำจัดโรคพืช
แพ็คทีน่า
Description
ชื่อสามัญ :
ไตรฟลอกซีสโตรบิน (trifloxystrobin)+ ทีบูโคนาโซล (tebuconazole) 25%+50% WG
ลักษณะสาร :
แท่งสีขาว
ขนาดบรรจุ :
40x250 กรัม
อัตราใช้ :
ข้าว: อายุไม่เกิน 40 วัน ใช้ในอัตรา 5-10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร, อายุมากกว่า 40 วัน ใช้ในอัตรา 10-15 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
(ใช้น้ำอัตรา 40 ลิตร ต่อไร่ สำหรับข้าวอายุไม่เกิน 40 วัน และ 60 ลิตร ต่อไร่ สำหรับข้าวอายุมากกว่า 40 วัน)
คุณสมบัติ :
เป็นสารป้องกันกำจัดโรคพืชในกลุ่มสารเคมี
"ออกซิมิโนอะซีเตท (Oximinoacetate)"
เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มสารเคมี
สโตรบิลูริน (Strobilurins)
และกลุ่มสารเคมี
"ไตรอะโซล (Triazoles)"
มีคุณสมบัติเป็นสารดูดซึมและแทรกซึมเข้าต้นพืชได้รวดเร็ว ระยะปลอดฝนสั้น เคลื่อนย้ายในต้นพืชได้ดี ยับยั้งการงอกของสปอร์ การสร้างและเส้นใยของเชื้อรา ช่วยให้ใบเขียว มันวาวและช่วยให้ผลไม้ผิวนวล
กลไกออกฤทธิ์ 2 ทาง คือ
ไตรฟลอกซีสโตรบิน
ยับยั้งการส่งต่อพลังงานในโปรตีนคอมเพล็กซ์ 3 (Complex 3) ของขบวนการหายใจของเชื้อรา โดยขัดขวางการทำงานของเอนไซม์ยูบิควินอล ออกซิเดท (Ubiquinol oxidates) บริเวณตำแหน่งภายนอกยูบิควินอล (Ubiquinol out site) ในไซโทโครม บีซี 1 (Cytochrome bc 1) และ
ทีบูโคนาโซล
ขัดขวางการทำงานของเอนไซม์ซี14 ดีเมทิลเลส (C14-demethylases) ทำให้การสังเคราะห์สเตอรอยที่ผนังเซลล์เชื้อราผิดปกติ
ประโยชน์ :
ใช้ป้องกันกำจัดโรคพืชทั้งจากเชื้อราชั้นสูงและราชั้นต่ำ เช่น โรคกาบใบแห้ง ใบจุดสีน้ำตาล โรคใบขีด โรคใบไหม้ โรคเมล็ดด่าง โรคดอกกระถิน ในข้าวโรคใบติด โรคแอนแทรคโนส โรครากเน่าโคนเน่า โรคราสนิม โรคใบจุดตากบ โรคใบจุดสีม่วง โรคใบจุดตาเสือในเผือก โรคเมลาโนส โรคสแคป โรคราสีชมพู โรคราแป้ง โรคราน้ำค้าง
หมายเหตุ :
เป็นพิษสูงต่อปลา และสัตร์น้ำอื่น ๆ
ในพืชผัก และไม้ผลระยะผลอ่อน ควรมีความระมัดระวังในการใช้ อาจก่อให้เกิดอาการชะงัก (สตั้น) การเจริญเติบโตของพืชผัก หรือผลอ่อนของผลไม้
Number of visitors :
802172
Views
Sitemap
Back To Top