Search Tools
Search ...
ภาษาไทย
English
บริษัท แพ็คกิ้ง แอ็ก จำกัด
0-2308-2102
Factory 0-2324-0515-6
Contact
Youtube
LINE
Facebook
Instagram
Toggle
Home
About Packing Ag
About Us
Company Profile
Vision & Mission
Organization Management
Certificate
Awards Achievements
Subsidiaries
Ag-gro (Thailand) Co., Ltd.
Saima Chemical Co., Ltd.
Packing Ag Co,. Ltd.
Products
Acaricides
Insecticides
Fungicides
Herbicides
Growth Regulator
Liquid Fertilizers And Nutrient
Sticker Spreader
Services
Percentage analysis of agricultural chemicals
News
Activities
PR News
Pest problems
Academic Articles
CSR/Environment
VDO Featured Products
Business Opportunity
Apply As A Dealer
Careers
Job Vacancy
Contacts
Satisfaction Assessment Form
Complaint
แพ็คโซ่
ขยา
Back to: สารกำจัดวัชพืช
คาร์โซซีน
Description
ชื่อสามัญ :
มีโซไตรโอน (mesotrione) + อะทราซีน (atrazine) 2.5% + 25% W/V SC
ลักษณะสาร :
ของเหลวสีขาวข้นหนืด
ขนาดบรรจุ :
12x1000 มิลลิลิตร
อัตราใช้ :
ข้าวโพด อ้อย พ่นหลังปลูก 7-15 วัน อัตรา 550-600 มิลลิลิตร ผสมน้ำ 60-80 ลิตรพ่นบนพื้นที่ 1 ไร่ หรือ
อัตรา 140 – 150 มิลลิลิตร ผสมน้ำ 15 – 20 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 งาน
*พ่นขณะดินมีความชื้น
คุณสมบัติ :
เป็นสารกำจัดวัชพืชประเภทเลือกทำลาย ในกลุ่มสารเคมี "ไตรคีโทน (Triketone)" และ "ไตรอะซีน (1,3,5-Triazines)" มีฤทธิ์ดูดซึมผ่านทางรากและยอดอ่อน สามารถเคลื่อนย้ายจากรากสู่ยอดอ่อน ปลอดภัยต่อข้าวโพด และอ้อย
กลไกออกฤทธิ์ 2 ทาง คือ มีโซไตรโอน ยับยั้งเอนไซม์ 4 เอชพีพีดี (4-hydroxyphenyl-pyruvate-dioxygenase; 4-HPPD) ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่อยู่ในกระบวนการสังเคราะห์แคโรทีนอยด์ ส่งผลให้คลอโรฟิลล์ในพืชถูกทำลาย ใบพืชจึงเปลี่ยนเป็นสีขาว เนื่องจากขาดคลอโรฟิลล์ ทำให้พืชสังเคราะห์แสงไม่ได้และตายในที่สุด และอะทราซีน ยับยั้งการสังเคราะห์ด้วยแสงของวัชพืช ในระบบแสง 2 (PS II) โดยขัดขวางการขนส่งอิเล็กตรอน ขัดขวางการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อสร้างพลังงาน ATP และ NADPH2 ทำให้วัชพืชขาดพลังงานที่จำเป็นเจริญเติบโต วัชพืชใบจะเหลืองและแห้งตาย
ประโยชน์ :
ใช้กำจัดวัชพืชหลังวัชพืชงอก ในระยะเริ่มต้น (วัชพืชใบแคบ มี 2-3 ใบ, ใบกว้าง 4-6 ใบ) วัชพืชประเภทใบแคบ เช่น หญ้าดอกขาว หญ้าตีนกา หญ้าตีนนก หญ้าตีนติด หญ้านกสีชมพู หญ้าปากควาย
วัชพืชประเภทใบกว้าง เช่น ผักเบี้ยใหญ่ ผักเบี้ยหิน หญ้ายาง ผักโขม
หมายเหตุ :
-
Number of visitors :
778880
Views
Sitemap
Back To Top